เมื่อ ‘สมรสเท่าเทียม’ กำลังจะมา ประเทศไทยพร้อมหรือไม่ ที่จะ ‘เข้าใจ’ และ ‘เปลี่ยนแปลง’?
แต่เดิมการหมั้นและการสมรสต้องเป็นการกระทำระหว่างชายโดยกำเนิดและหญิงโดยกำเนิดเท่านั้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องหมั้น แต่เดิมอนุญาตให้ชายโดยกำเนิดเป็นฝ่ายเข้าไปหมั้นหญิงโดยกำเนิด หญิงจึงเป็นฝ่ายรับหมั้น บัดนี้กฎหมายจะอนุญาตให้บุคคลสองคนไม่ว่าเพศใดก็สามารถหมั้นและสมรสได้ เป็นการปลดล็อกเงื่อนไขเรื่องเพศในการหมั้นและการสมรส
กำหนดให้เหตุฟ้องหย่า รวมถึงกรณีสามีหรือภริยาอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉัน "คู่ชีวิต"
ในการอภิปรายร่าง พ.ร.บ. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) ได้อภิปรายกันอย่างกว้างขวางถึงความจำเป็นในการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการสมรส เช่น สิทธิในการจัดการทรัพย์สินของคู่รักผู้มีความหลากหลายทางเพศ สวัสดิการสำหรับคู่สมรส สิทธิการตัดสินใจในการรักษาพยาบาล เป็นต้น
จับตาศึกชิงเก้าอี้ร้อน ‘ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ’ ที่มีอำนาจควบคุม ธปท.
เมื่อ ‘สมรสเท่าเทียม’ กำลังจะมา ประเทศไทยพร้อมหรือไม่ จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม ที่จะ ‘เข้าใจ’ และ ‘เปลี่ยนแปลง’?
“กฎหมายฉบับนี้ คนร่างกฎหมายอาจจะสับสน การให้มีสิทธิเท่าเทียมกันทางเพศ ก็หมายความว่าให้มีสิทธิเท่าเทียมกันระหว่างเพศชายและเพศหญิง ไม่ใช่แอลจีทีบีคิวที่ไม่ใช่เพศ ไม่เกี่ยวกัน”
-ได้รับสิทธิ์การฟ้องหย่าเหมือนกับคู่สมรส และสามารถเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูต่อศาลได้
จับตาศึกชิงเก้าอี้ร้อน ‘ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ’ ที่มีอำนาจควบคุม ธปท.
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต พร้อมกับการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งเป็นกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องแล้ว เพื่อรับรองสิทธิ์ในการก่อตั้งครอบครัวของคู่รักที่มีเพศเดียวกันให้เป็นคู่ชีวิต
'อดิสร' ไม่เห็นด้วย 'กฎหมายห้ามตีเด็ก' พรรคประชาชน ชี้ เคยถูกครูตี จนมีทุกวันนี้
‘เศรษฐา’ ยินดี กฎหมายสมรสเท่าเทียมสร้างความเสมอภาค ความหลากหลายทางเพศ
เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นมิตรกับผู้มีความหลากหลายทางเพศ มากกว่าชาติอื่นในเอเชีย ?
-สิทธิ์ในการจัดการทรัพย์สินและทำธุรกรรมร่วมกันได้ เช่น การซื้ออสังหาริมทรัพย์ การซื้อยานพาหนะ